วันจันทร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2554

- ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Pro Desktop




พื้นที่ของ Workplane ที่ใช้สำหรับการออกแบบ
 
          Workplane คือ พื้นที่ทำงานในโปรแกรม ประกอบด้วย
 
 
ฐานล่าง (Base)
ฐานหน้า (Frontal)
ฐานข้าง (Lateral)
 
 
 
 
ฐานล่าง (Base)
ฐานหน้า (Frontal)
ฐานข้าง (Lateral)
 
 
ในทุก ๆ ฐาน จะต้องมี Sketch จึงจะ Design ภาพได้
ถ้าต้องการ Design ภาพในฐานใด ให้คลิก บนฐานนั้น ใน Browser Workplane ทางซ้ายมือด้านบนของหน้าต่างโปรแกรม
เมื่อ ฐานนั้นถูกคลิก เส้นของ Wordplane จะเปลี่ยนเป็นสีแดง
คลิกเมนู Workplane  -->  เลือก New Sketch   --->  โปรแกรมจะสร้าง Sketch1 ให้ ถ้าไม่เปลี่ยนชื่อ  ตอบ OK
หลังจากนั้น สามารถ Design รูปทรงได้ตามต้องการ
มุมมองวัตถุ 3 มิติ
 
          ในการปรับแต่งรูปทรง 3 มิติ จำเป็นต้องเลือกด้านของวัตถุให้ถูกด้าน เมื่อต้องการมองด้านใดของรูปทรง สามารถใช้เมาส์พลิก หรือหมุนวัตถุ แล้วคลิกเลือกด้านที่ต้องการ ซึ่งมีมุมมองทั้งหมด 4 ด้าน คือ
 
 
ด้านหน้า (Front View)
ด้านหลัง (Back View)
 
 
ด้านข้าง (Side View)
ด้านบน (Plan View)
 
 
 

  เมนูคำสั่งในโปรแกรม Pro/DESKTOP  มีลักษณะใกล้เคียงกับเมนูในโปรแกรมอื่น ๆ เช่น File,  Edit, View, Tools, Window  และ Help  ส่วนเมนูที่แตกต่างออกไป ได้แก่ Select , Line,  Constraint , Feature, Assemply  และ  Workplane  ซึ่งแต่ละเมนูทำหน้าที่แตกต่างกันออกไป ดังตารางข้างล่าง
      
  

    แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbars)    เป็นแถบเครื่องมือที่ใช้ในงานทั่ว ๆ ไป เหมือนโปรแกรมอื่น       เช่น สร้างไฟล์ใหม่ (New Design) เปิดแฟ้ม (Open)  บันทึก (Save) คัดลอก (Copy)  เป็นต้น
    หน้าที่ของแถบเครื่องมือมาตรฐาน
     
    Browser Pane 
    เป็นส่วนที่แสดงรูปแบบร่องรอย หรือประวัติของการสร้างชิ้นงาน หรือ เนื้อหาภายในชิ้นงานนั้น ๆ   มีให้เลือก 3 โหมด เพื่อสะดวกในการจัดการภาพ คือ   
              ภายใน Browser Pane
            Browser Component     =    เลือกชิ้นงาน Browser Features          =    เลือกโหมดปรับแต่งรูปทรง Browser Workplanes   =    เลือกพื้นที่ทำงาน 
          โดยปกติจะเป็นโหมด Browser Workplanes                                       เมื่อเลือกโหมดใด จะแสดงเป็น Option ของแต่ละโหมด ดังตารางข้างล่าง  
                                 กรณี เป็น  Browser Workplane  ฐานใดมี Sketch อยู่ จะมีเครื่องหมายบวก (+) ด้านซ้ายของฐานนั้น                              เมื่อคลิกเครื่องหมายบวก จะแสดง Sketch ให้เห็น   เช่น ภายในฐาน base มี Sketch  ชื่อ initial  ดังภาพ
             Active Sketch  (สเก็ตปัจจุบัน) ชื่อ Initial

                 เริ่มต้นการใช้งานโปรแกรมและแถบเครื่องมือ

                    การใช้งานโปรแกรม Pro/DESKTOP  ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น  ผู้เรียนต้องรู้จักใช้เครื่องมือต่าง ๆ อย่างเหมาะสม

                   จุดประสงค์การเรียนรู้

          1.       เรียกใช้โปรแกรม  Pro/DESKTOP  ได้
          2.       ใช้แถบเครื่องมือมาตรฐานได้ (Standard  Toolbar)  ได้
          3.       ใช้แถบเครื่องมือสร้างและปรับแต่งรูปทรง (Feature Toolbar) ได้
          4.       ใช้แถบเครื่องมือมุมมอง (Views Toolbar) ได้

          ขั้นตอนการเข้าสู่โปรแกรม

          • คลิกเลือกคำสั่ง Start ->Programs ->PTC ProDESKTOP 8.0
                  
          • หรือเลือกที่แถบเครื่องมือ  ที่ Desktop 

          แถบเครื่องมือ

          แถบเครื่องมือพื้นฐานที่สำคัญของโปรแกรม Pro/DESKTOP
          หมายเลข 1  แถบเครื่องมือมาตรฐาน ( Standard Toolbar)
          หมายเลข 2  ส่วนแสดงร่องรอยของการออกแบบชื้นงาน (Browser Pane)
          หมายเลข 3  แถบเครื่องมือออกแบบ  (Design Toolbar)
          หมายเลข 4  พื้นที่ทำงาน (workplane)
          หมายเลข 5  แถบเครื่องมือมุมมอง (Views Toolbar)
          หมายเลข 6  แถบเครื่องมือปรับแต่งรูปทรง (Features Toolbar)

          แถบเครื่องมือสำคัญและคีย์ลัดที่ใช้ใน  Pro/DESKTOP   

          Menu
          Command
          ความหมาย
          Button
          เส้น(Line)Straightลากเส้นตรง
           Circleสร้างวงกลม
           Rectangleสร้างรูปสี่เหลี่ยม
           Ellipseสร้างรูปวงรี
           Arcสร้างเส้นโค้ง
           Splineสร้างเส้นโค้งอิสระ
           Delete Segmentลบเส้น
          ConstraintDimensionกำหนดขนาด
          Parallelวางขนาน
           Perpendicularวางตั้งฉาก
          Feature
           
          Extrude Profileการสร้างความหนางานโดยการยืด
           Project Profileการตัดชิ้นงานโดยการยืด
           Revolve Profileการสร้างเนื้องานแบบหมุนรอบแกน
           Sweep > Sketch Pathการสร้างเนื้องานตามแนวเส้นนำทาง
           Insert Holesเจาะรู
           Round Edgesทำเหลี่ยมให้มน
           Chamfer Edgesทำขอบเหลี่ยม
           Shell Solidsทำชุดผิวตามตามผนังงาน
           Update Designปรับปรุงการแสดงผลหลังจากแก้ไข
          Tools
           
          Components Browserแสดงชื่อชิ้นงานที่ใช้
           Features Browser แสดงร่องรอยการปรับแต่ง
           Workplanes Browser การแสดงฐานของชิ้นงาน
          Select
          linesเลือกเส้น
           Constraintเลือกมุม
           Workplanesเลือก Workplanes
           Edgesเลือกขอบ
           Facesเลือกพื้นผิว
           Featuresเลือก Features

          StandardNew Designสร้างชิ้นงานใหม่
           Openเปิดชิ้นงานเก่า
           Saveบันทึกชิ้นงาน
           Printพิมพ์ชิ้นงาน
           Cutตัด
           Copyคัดลอก
           Pastวาง
           Deleteลบ
           Underยกเลิกคำสั่งสุดท้าย
          ViewsWire Frameมุมมองแบบลายเส้น
           Transparentมุมมองแบบโปร่งใส
           Autoscaleปรับภาพให้เข้ากลางจอ
           Zoom Inปรับภาพให้ใกล้เข้ามา
           View Onto Workplaneมุมมองแนวระนาบ
           Plane Viewมุมมองแนวราบ
           View Trimetricมุมมอง Trimetric
           View Isometricมุมมอง แบบสามมิติ
           Tumbleหมุนภาพอัตโนมัติ
           พื้นที่ในการทำงาน(Workplane)

           Workplane คือ พื้นที่ทำงานในโปรแกรม
                   ประกอบด้วย
                     ฐานล่าง (Base)
                     ฐานหน้า (Frontal)
                     ฐานข้าง (Lateral)


          ฐานล่าง (Base)
          ฐานหน้า (Frontal)
          ฐานข้าง (Lateral)
          ในทุก ๆ ฐาน จะต้องมี การเพิ่ม Sketch จึงจะ Design ภาพได้  ถ้าต้องการ Design ภาพในฐานใด ให้คลิก บนฐานนั้น ใน Browser Workplane ทางซ้ายมือด้านนของหน้าต่างโปรแกรม เมื่อ ฐานนั้นถูกคลิก เส้นของ Wordplane จะเปลี่ยนเป็นสีแดง คลิกเมนู Workplane  -->  เลือก New Sketch   --->  โปรแกรมจะสร้าง Sketch1 ให้ ถ้าไม่เปลี่ยนชื่อ  ตอบ OK หลังจากนั้น สามารถ Design รูปทรงได้ตามต้องการ
           

                 เริ่มต้นการใช้งานโปรแกรมและแถบเครื่องมือ

                    การใช้งานโปรแกรม Pro/DESKTOP  ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น  ผู้เรียนต้องรู้จักใช้เครื่องมือต่าง ๆ อย่างเหมาะสม

                   จุดประสงค์การเรียนรู้

          1.       เรียกใช้โปรแกรม  Pro/DESKTOP  ได้
          2.       ใช้แถบเครื่องมือมาตรฐานได้ (Standard  Toolbar)  ได้
          3.       ใช้แถบเครื่องมือสร้างและปรับแต่งรูปทรง (Feature Toolbar) ได้
          4.       ใช้แถบเครื่องมือมุมมอง (Views Toolbar) ได้

          ขั้นตอนการเข้าสู่โปรแกรม

          • คลิกเลือกคำสั่ง Start ->Programs ->PTC ProDESKTOP 8.0
                  
          • หรือเลือกที่แถบเครื่องมือ  ที่ Desktop 

          แถบเครื่องมือ

          แถบเครื่องมือพื้นฐานที่สำคัญของโปรแกรม Pro/DESKTOP
          หมายเลข 1  แถบเครื่องมือมาตรฐาน ( Standard Toolbar)
          หมายเลข 2  ส่วนแสดงร่องรอยของการออกแบบชื้นงาน (Browser Pane)
          หมายเลข 3  แถบเครื่องมือออกแบบ  (Design Toolbar)
          หมายเลข 4  พื้นที่ทำงาน (workplane)
          หมายเลข 5  แถบเครื่องมือมุมมอง (Views Toolbar)
          หมายเลข 6  แถบเครื่องมือปรับแต่งรูปทรง (Features Toolbar)

          แถบเครื่องมือสำคัญและคีย์ลัดที่ใช้ใน  Pro/DESKTOP   

          Menu
          Command
          ความหมาย
          Button
          เส้น(Line)Straightลากเส้นตรง
           Circleสร้างวงกลม
           Rectangleสร้างรูปสี่เหลี่ยม
           Ellipseสร้างรูปวงรี
           Arcสร้างเส้นโค้ง
           Splineสร้างเส้นโค้งอิสระ
           Delete Segmentลบเส้น
          ConstraintDimensionกำหนดขนาด
          Parallelวางขนาน
           Perpendicularวางตั้งฉาก
          Feature
           
          Extrude Profileการสร้างความหนางานโดยการยืด
           Project Profileการตัดชิ้นงานโดยการยืด
           Revolve Profileการสร้างเนื้องานแบบหมุนรอบแกน
           Sweep > Sketch Pathการสร้างเนื้องานตามแนวเส้นนำทาง
           Insert Holesเจาะรู
           Round Edgesทำเหลี่ยมให้มน
           Chamfer Edgesทำขอบเหลี่ยม
           Shell Solidsทำชุดผิวตามตามผนังงาน
           Update Designปรับปรุงการแสดงผลหลังจากแก้ไข
          Tools
           
          Components Browserแสดงชื่อชิ้นงานที่ใช้
           Features Browser แสดงร่องรอยการปรับแต่ง
           Workplanes Browser การแสดงฐานของชิ้นงาน
          Select
          linesเลือกเส้น
           Constraintเลือกมุม
           Workplanesเลือก Workplanes
           Edgesเลือกขอบ
           Facesเลือกพื้นผิว
           Featuresเลือก Features

          StandardNew Designสร้างชิ้นงานใหม่
           Openเปิดชิ้นงานเก่า
           Saveบันทึกชิ้นงาน
           Printพิมพ์ชิ้นงาน
           Cutตัด
           Copyคัดลอก
           Pastวาง
           Deleteลบ
           Underยกเลิกคำสั่งสุดท้าย
          ViewsWire Frameมุมมองแบบลายเส้น
           Transparentมุมมองแบบโปร่งใส
           Autoscaleปรับภาพให้เข้ากลางจอ
           Zoom Inปรับภาพให้ใกล้เข้ามา
           View Onto Workplaneมุมมองแนวระนาบ
           Plane Viewมุมมองแนวราบ
           View Trimetricมุมมอง Trimetric
           View Isometricมุมมอง แบบสามมิติ
           Tumbleหมุนภาพอัตโนมัติ
           พื้นที่ในการทำงาน(Workplane)

           Workplane คือ พื้นที่ทำงานในโปรแกรม
                   ประกอบด้วย
                     ฐานล่าง (Base)
                     ฐานหน้า (Frontal)
                     ฐานข้าง (Lateral)


          ฐานล่าง (Base)
          ฐานหน้า (Frontal)
          ฐานข้าง (Lateral)
          ในทุก ๆ ฐาน จะต้องมี การเพิ่ม Sketch จึงจะ Design ภาพได้  ถ้าต้องการ Design ภาพในฐานใด ให้คลิก บนฐานนั้น ใน Browser Workplane ทางซ้ายมือด้านนของหน้าต่างโปรแกรม เมื่อ ฐานนั้นถูกคลิก เส้นของ Wordplane จะเปลี่ยนเป็นสีแดง คลิกเมนู Workplane  -->  เลือก New Sketch   --->  โปรแกรมจะสร้าง Sketch1 ให้ ถ้าไม่เปลี่ยนชื่อ  ตอบ OK หลังจากนั้น สามารถ Design รูปทรงได้ตามต้องการ
           

                 เริ่มต้นการใช้งานโปรแกรมและแถบเครื่องมือ

                    การใช้งานโปรแกรม Pro/DESKTOP  ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น  ผู้เรียนต้องรู้จักใช้เครื่องมือต่าง ๆ อย่างเหมาะสม

                   จุดประสงค์การเรียนรู้

          1.       เรียกใช้โปรแกรม  Pro/DESKTOP  ได้
          2.       ใช้แถบเครื่องมือมาตรฐานได้ (Standard  Toolbar)  ได้
          3.       ใช้แถบเครื่องมือสร้างและปรับแต่งรูปทรง (Feature Toolbar) ได้
          4.       ใช้แถบเครื่องมือมุมมอง (Views Toolbar) ได้

          ขั้นตอนการเข้าสู่โปรแกรม

          • คลิกเลือกคำสั่ง Start ->Programs ->PTC ProDESKTOP 8.0
                  
          • หรือเลือกที่แถบเครื่องมือ  ที่ Desktop 

          แถบเครื่องมือ

          แถบเครื่องมือพื้นฐานที่สำคัญของโปรแกรม Pro/DESKTOP
          หมายเลข 1  แถบเครื่องมือมาตรฐาน ( Standard Toolbar)
          หมายเลข 2  ส่วนแสดงร่องรอยของการออกแบบชื้นงาน (Browser Pane)
          หมายเลข 3  แถบเครื่องมือออกแบบ  (Design Toolbar)
          หมายเลข 4  พื้นที่ทำงาน (workplane)
          หมายเลข 5  แถบเครื่องมือมุมมอง (Views Toolbar)
          หมายเลข 6  แถบเครื่องมือปรับแต่งรูปทรง (Features Toolbar)

          แถบเครื่องมือสำคัญและคีย์ลัดที่ใช้ใน  Pro/DESKTOP   

          Menu
          Command
          ความหมาย
          Button
          เส้น(Line)Straightลากเส้นตรง
           Circleสร้างวงกลม
           Rectangleสร้างรูปสี่เหลี่ยม
           Ellipseสร้างรูปวงรี
           Arcสร้างเส้นโค้ง
           Splineสร้างเส้นโค้งอิสระ
           Delete Segmentลบเส้น
          ConstraintDimensionกำหนดขนาด
          Parallelวางขนาน
           Perpendicularวางตั้งฉาก
          Feature
           
          Extrude Profileการสร้างความหนางานโดยการยืด
           Project Profileการตัดชิ้นงานโดยการยืด
           Revolve Profileการสร้างเนื้องานแบบหมุนรอบแกน
           Sweep > Sketch Pathการสร้างเนื้องานตามแนวเส้นนำทาง
           Insert Holesเจาะรู
           Round Edgesทำเหลี่ยมให้มน
           Chamfer Edgesทำขอบเหลี่ยม
           Shell Solidsทำชุดผิวตามตามผนังงาน
           Update Designปรับปรุงการแสดงผลหลังจากแก้ไข
          Tools
           
          Components Browserแสดงชื่อชิ้นงานที่ใช้
           Features Browser แสดงร่องรอยการปรับแต่ง
           Workplanes Browser การแสดงฐานของชิ้นงาน
          Select
          linesเลือกเส้น
           Constraintเลือกมุม
           Workplanesเลือก Workplanes
           Edgesเลือกขอบ
           Facesเลือกพื้นผิว
           Featuresเลือก Features

          StandardNew Designสร้างชิ้นงานใหม่
           Openเปิดชิ้นงานเก่า
           Saveบันทึกชิ้นงาน
           Printพิมพ์ชิ้นงาน
           Cutตัด
           Copyคัดลอก
           Pastวาง
           Deleteลบ
           Underยกเลิกคำสั่งสุดท้าย
          ViewsWire Frameมุมมองแบบลายเส้น
           Transparentมุมมองแบบโปร่งใส
           Autoscaleปรับภาพให้เข้ากลางจอ
           Zoom Inปรับภาพให้ใกล้เข้ามา
           View Onto Workplaneมุมมองแนวระนาบ
           Plane Viewมุมมองแนวราบ
           View Trimetricมุมมอง Trimetric
           View Isometricมุมมอง แบบสามมิติ
           Tumbleหมุนภาพอัตโนมัติ
           พื้นที่ในการทำงาน(Workplane)

           Workplane คือ พื้นที่ทำงานในโปรแกรม
                   ประกอบด้วย
                     ฐานล่าง (Base)
                     ฐานหน้า (Frontal)
                     ฐานข้าง (Lateral)


          ฐานล่าง (Base)
          ฐานหน้า (Frontal)
          ฐานข้าง (Lateral)
          ในทุก ๆ ฐาน จะต้องมี การเพิ่ม Sketch จึงจะ Design ภาพได้  ถ้าต้องการ Design ภาพในฐานใด ให้คลิก บนฐานนั้น ใน Browser Workplane ทางซ้ายมือด้านนของหน้าต่างโปรแกรม เมื่อ ฐานนั้นถูกคลิก เส้นของ Wordplane จะเปลี่ยนเป็นสีแดง คลิกเมนู Workplane  -->  เลือก New Sketch   --->  โปรแกรมจะสร้าง Sketch1 ให้ ถ้าไม่เปลี่ยนชื่อ  ตอบ OK หลังจากนั้น สามารถ Design รูปทรงได้ตามต้องการ
           

          การใช้เมาส์

          คุณสามารถใช้เมาส์เพื่อโต้ตอบกับรายการต่างๆ บนหน้าจอเหมือนกับที่คุณใช้มือของคุณโต้ตอบกับวัตถุในชีวิตจริง คุณสามารถย้ายวัตถุ เปิดวัตถุ เปลี่ยนแปลง ลบและทำการกระทำต่างๆ ได้ด้วยการชี้และคลิกด้วยเมาส์ของคุณ

          ส่วนประกอบพื้นฐาน

          โดยทั่วไป เมาส์จะประกอบด้วยปุ่มสองปุ่ม ได้แก่ ปุ่มหลัก (ปกติจะเป็นปุ่มซ้าย) หนึ่งปุ่ม และ ปุ่มรอง(ปกติจะเป็นปุ่มขวา) หนึ่งปุ่ม ปุ่มหลักคือปุ่มที่คุณจะใช้บ่อยที่สุด เมาส์ส่วนใหญ่จะมี ล้อเลื่อน ระหว่างปุ่มทั้งสองเพื่อช่วยให้คุณเลื่อนดูเอกสารและเว็บเพจได้ง่ายยิ่งขึ้น ในเมาส์บางตัว คุณสามารถกดล้อเลื่อนเพื่อให้ทำงานเหมือนเป็นปุ่มที่สาม เมาส์ที่มีประสิทธิภาพสูงอาจมีปุ่มเพิ่มเติมที่สามารถทำงานอื่นๆ ได้
          รูปภาพของเมาส์สองปุ่มที่มีล้อเลื่อนชิ้นส่วนของเมาส์

          การจับและการเลื่อนเมาส์

          รูปภาพของตัวชี้เมาส์
          วางเมาส์ไว้ด้านข้างแป้นพิมพ์โดยอยู่บนพื้นผิวที่สะอาดและเรียบ เช่น แผ่นรองเมาส์ จับเมาส์เบาๆ โดยวางนิ้วชี้ไว้บนปุ่มหลักและนิ้วหัวแม่มือไว้ด้านข้าง เมื่อต้องการเลื่อนเมาส์ ให้เลื่อนไปช้าๆ ในทิศทางที่ต้องการ อย่าหมุนเมาส์ แต่ให้เมาส์ชี้ไปด้านหน้าห่างจากตัวคุณ เมื่อคุณเลื่อนเมาส์ ตัวชี้ (ดูรูปภาพ) บนหน้าจอของคุณจะเลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ถ้าคุณไม่มีที่ว่างพอจะเลื่อนเมาส์บนโต๊ะหรือบนแผ่นรองเมาส์ ให้หยิบเมาส์ขึ้นมาแล้วนำมาวางใกล้ตัวคุณมากขึ้น
          รูปภาพของมือกำลังจับเมาส์คอมพิวเตอร์จับเมาส์เบาๆ โดยให้ข้อมือตั้งตรง

          การชี้ การคลิก และการลาก

          การชี้ ไปที่รายการบนหน้าจอหมายถึงการเลื่อนเมาส์เพื่อว่าตัวชี้จะดูเหมือนว่าสัมผัสกับรายการนั้น เมื่อคุณชี้ไปที่รายการใดก็ตาม จะมีกล่องเล็กๆ ปรากฏขึ้นพร้อมคำอธิบายรายการนั้น ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณชี้ไปที่ 'ถังรีไซเคิล' บน เดสก์ท็อป จะมีกล่องหนึ่งปรากฏขึ้นพร้อมกับข้อมูลต่อไปนี้ "มีแฟ้มและโฟลเดอร์ที่คุณลบ"
          รูปภาพของตัวชี้เมาส์ที่ชี้ไปที่ 'ถังรีไซเคิล' ที่มีข้อความ "มีแฟ้มและโฟลเดอร์ที่คุณลบ"เมื่อชี้ไปที่วัตถุ ข้อความอธิบายวัตถุนั้นมักจะปรากฏขึ้น
          ตัวชี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับสิ่งที่คุณชี้ ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณชี้ไปที่การเชื่อมโยงใน เว็บเบราว์เซอร์ ของคุณ ตัวชี้จะเปลี่ยนจากลูกศร รูปภาพของตัวชี้เมาส์ (ลูกศร) เป็นมือพร้อมนิ้วชี้ รูปภาพของตัวชี้เมาส์ (มือพร้อมนิ้วชี้) .
          เมาส์ส่วนใหญ่ทำงานโดยการชี้ร่วมกับการกดปุ่มเมาส์อย่างน้อยหนึ่งปุ่ม วิธีพื้นฐานในการใช้ปุ่มเมาส์มีสี่วิธี ได้แก่ การคลิก การคลิกสองครั้ง การคลิกขวา และการลาก

          การคลิก (การคลิกครั้งเดียว)

          เมื่อต้องการคลิกรายการหนึ่ง ให้ชี้ไปที่รายการนั้นบนหน้าจอ จากนั้นกดและปล่อยปุ่มหลัก (ปกติจะเป็นปุ่มซ้าย)
          การคลิกมักจะใช้บ่อยครั้งเมื่อต้องการ เลือก (ทำเครื่องหมาย) รายการนั้นหรือเปิดเมนู บางครั้งจะเรียกว่า การคลิกครั้งเดียว หรือ การคลิกซ้าย

          การคลิกสองครั้ง

          เมื่อต้องการคลิกสองครั้งที่รายการ ให้ชี้ไปที่รายการนั้นบนหน้าจอ แล้วคลิกสองครั้งอย่างรวดเร็ว ถ้าคุณเว้นระยะการคลิกทั้งสองครั้งนานเกินไป อาจจะกลายเป็นว่าคุณคลิกรายการนั้นแยกกันสองครั้ง มากกว่าจะเป็นการคลิกสองครั้งที่รายการนั้น
          การคลิกสองครั้งมักจะใช้เมื่อต้องการเปิดรายการบนเดสก์ท็อปของคุณ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถเริ่มโปรแกรมหรือเปิดโฟลเดอร์โดยการคลิกสองครั้งที่ ไอคอน บนเดสก์ท็อป
          เคล็ดลับ

          เคล็ดลับ

          ถ้าคุณมีปัญหาในการคลิกสองครั้ง คุณสามารถปรับความเร็วในการคลิกสองครั้งได้ (เวลาที่ยอมรับได้ระหว่างการคลิกทั้งสองครั้ง) ให้ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้
          1. เปิด 'เมาส์' โดยการคลิกปุ่ม เริ่มรูปภาพของปุ่ม 'เริ่ม'คลิก Control Panel คลิก ฮาร์ดแวร์แล้วคลิก เมาส์
          2. คลิกแท็บ ปุ่ม จากนั้น ภายใต้ ความเร็วเมื่อคลิกสองครั้ง ให้เลื่อนแถบเลื่อนเพื่อเพิ่มหรือลดความเร็ว

          การคลิกขวา

          เมื่อต้องการคลิกขวาที่รายการ ให้ชี้ไปที่รายการนั้นบนหน้าจอ จากนั้นกดและปล่อยปุ่มรอง (ปกติจะเป็นปุ่มขวา)
          การคลิกขวาที่รายการจะแสดงรายการสิ่งต่างๆ ที่คุณสามารถทำได้กับรายการนั้น ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณคลิกขวาที่ 'ถังรีไซเคิล' บนเดสก์ท็อป Windows จะแสดงเมนูที่อนุญาตให้คุณเปิดถัง ลบข้อมูลในถัง ลบถัง หรืดูคุณสมบัติของถังรีไซเคิล ถ้าคุณไม่แน่ใจว่าจะต้องทำอย่างไรเกี่ยวกับรายการหนึ่งรายการใด ให้คลิกขวาที่รายการนั้น
          รูปภาพของ 'ถังรีไซเคิล' ที่เปิดเมนูคลิกขวาไว้การคลิกขวาที่ 'ถังรีไซเคิล' จะเปิดเมนูคำสั่งที่เกี่ยวข้อง

          การลาก

          คุณสามารถย้ายรายการไปรอบๆ หน้าจอได้โดย การลาก รายการนั้น เมื่อต้องการลากวัตถุ ให้ชี้ไปที่วัตถุบนหน้าจอ กดปุ่มหลักค้างไว้ ย้ายวัตถุนั้นไปยังที่ตั้งใหม่ แล้วปล่อยปุ่มหลัก
          การลาก (บางครั้งเรียกว่า การลากและการปล่อย) มักจะใช้เมื่อต้องการย้ายแฟ้มและโฟลเดอร์ไปยังที่ตั้งอื่น และเมื่อต้องการย้ายหน้าต่างและไอคอนไปรอบๆ บนหน้าจอของคุณ

          การใช้ล้อเลื่อน

          ถ้าเมาส์ของคุณมีล้อเลื่อน คุณสามารถใช้ล้อเลื่อนนั้นในการเลื่อนดูเอกสารและเว็บเพจได้ เมื่อต้องการเลื่อนลง ให้หมุนล้อย้อนกลับ (เข้าหาตัวคุณ) เมื่อต้องการเลื่อนขึ้น ให้หมุนล้อไปข้างหน้า (ออกจากตัวคุณ)

          การกำหนดเมาส์ด้วยตนเอง

          คุณสามารถเปลี่ยนการตั้งค่าเมาส์เพื่อให้เหมาะกับความต้องการส่วนตัวของคุณ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถเปลี่ยนความเร็วในการเลื่อนตัวชี้เมาส์ไปรอบๆ หน้าจอ หรือเปลี่ยนลักษณะที่ปรากฏของตัวชี้ ถ้าคุณถนัดซ้าย คุณสามารถสลับปุ่มหลักให้เป็นปุ่มขวาได้ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู การเปลี่ยนการตั้งค่าเมาส์.

          เคล็ดลับการใช้เมาส์อย่างปลอดภัย

          การกดเมาส์ค้างไว้แล้วเลื่อนอย่างถูกต้องจะช่วยไม่ให้คุณมีอาการเจ็บหรือบาดเจ็บที่ข้อมือ มือ และแขน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณใช้คอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานาน ต่อไปนี้เป็นเคล็บลับที่จะช่วยให้คุณหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าวได้
          • วางเมาส์ไว้ในระดับข้อศอก ต้นแขนควรจะปล่อยสบายๆ ไว้ข้างลำตัว
          • อย่าบีบหรือจับเมาส์แน่นเกินไป จับเมาส์เบาๆ
          • เลื่อนเมาส์โดยให้แขนและข้อศอกตรงกัน อย่าบิดข้อมือขึ้น ลง หรือไปด้านข้าง
          • สัมผัสเบาๆ เมื่อคลิกปุ่มเมาส์
          • ปล่อยนิ้วมือสบายๆ อย่าให้นิ้วมือลอยอยู่เหนือปุ่ม
          • เมื่อคุณไม่จำเป็นต้องใช้เมาส์ อย่าจับเมาส์ค้างไว้
          • เว้นระยะการใช้คอมพิวเตอร์ทุกๆ 15-20 นาที
          ด้านบนของเพจ Sketch คือ ตำแหน่งที่ใช้ในการ Design รูปทรงใด ๆ ซึ่งอยู่บน  Workplane 
                    19_c.gif   ชื่อ Sketch พื้นฐานที่สร้างขึ้นอัตโนมัติ คือ Inital ซึ่งอยู่ใน ฐาน Base สังเกตได้จากเครื่องหมายบวก (+) ด้านซ้ายของ Base ใน Browser  Pane                       เมื่อทดสอบคลิกเครื่องหมายบวก จะมองเห็น Sketch อยู่ภายในฐาน Base              18_c.gif   การสร้าง Sketch บนฐานใด ๆ ให้คลิกเลือกบนฐานนั้น  แล้วคลิกเมนู Workplane --->  New Sketch  ----> OK                     หรือ  คลิกเลือกบนฐานนั้น จะเกิดเส้นสีแดงบน Workplane   แล้วคลิกขวาบนเส้นแดง  จะมีเมนูแบบ pup-up เลือก New Sketch  ---> OK              17_c.gif   หลังจากนั้น สามารถ Design รูปทรงได้ตามต้องการ  
                    19_c.gif  ตัวอย่าง การสร้าง Sketch จากฐานข้าง   lateral
                   18_c.gif  การเปลี่ยนชื่อ Sketch เพื่อให้มีความหมายสอดคล้องกับลักษณะงานที่ทำ พิมพ์ชื่อใหม่ในช่อง Name
                    หลังจากสร้าง Sketch เสร็จแล้ว จะส้งเกตเห็นเครื่องหมายบวก (+) ด้านซ้ายของแต่ละฐานที่สร้าง  เช่น ฐาน frontal  หรือ lateral     

                    การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน

                                     การออกแบบวัตถุทรงตัน  และการปรับเปลี่ยนขนาดและรูปแบบชิ้นงานถือว่าเป็นพื้นฐานในการใช้งานโปรแกรมPro/DESKTOP 

                        จุดประสงค์การเรียนรู้

                    1.       ออกแบบวัตถุทรงตันแบบต่าง ๆ  ได้
                    2.       ปรับเปลี่ยนขนาดและรูปทรงวัตถุทรงตันได้

                         ขั้นตอนการออกแบบ

                          1. คลิก เมนู File  เลือกคำสั่ง  New หรือ คลิกแถบเครื่องมือมาตรฐาน       (New Design ) เพื่อสร้างชิ้นงานใหม่      2. เลือกเครื่องมือ View onto Workplane   เพื่อกำหนดมุมมองเป็นแนวระนาบ       3. วาดรูปสี่เหลี่ยม หรือรูปต่าง ๆ ที่เป็นรูปทรงปิด (Close Shape ) จะเกิดเป็นรูปทรงที่มีสีเติม(Fill)อยู่ภายใน
                            4. สามารถแก้ไขปรับเปลี่ยนขนาดของรูป ได้โดยการเลือกแถบเครื่องมือ Constraint เลือกคำสั่ง Dimension                หรือเลือกที่แถบเครื่องมือเมนู  ใช้เมาส์คลิกที่เส้นขอบ แล้วลากเพื่อบอกขนาดความยาวของด้าน
                            5. ดับเบิ้ลคลิกที่ตัวเลขแสดงความยาวของด้านเพื่อเปลี่ยนแปลงค่าความยาวตามที่ต้องการ
                            6. คลิกเมนู Feature เลือกคำสั่ง  Extude Profile  หรือ คลิกเครื่องมือ      บนแถบเครื่องมือ Featureจะเกิด             ปุ่มสีเหลืองขึ้นกลางรูป กำหนดค่าความหนาของวัตถุในช่อง Distance   เช่น 50  หรือ  ใช้เมาส์จับปุ่มสีเหลือง              ดึงให้ยืดขึ้นตามต้องการ ระหว่างการยืดจะเกิดค่าตัวเลขในช่อง  Distance
                            7.  คลิกปุ่ม  OK. จะได้รูปทรงดังภาพ
                            8 ถ้าต้องการปรับเปลี่ยนความหนาของวัตถุ หรือปรับเปลี่ยนจากทรงตรง เป็นรูปทรงบีบหรือขยายด้านบน ให้              ดับเบิ้ลคลิกที่รูปเปลี่ยนค่าความหนาในช่อง Distance หรือคลิกกำหนดค่าองศาในช่อง Taper angle  เช่น              30 องศา
                            9.   คลิกปุ่ม  OK  แล้วกดปุ่ม Update Document  จ ะได้รูปทรงดังภาพ
                     

                    ตัวอย่างรูปทรงอื่น ๆ

                    วงกลม เลือกแบบ Symmetric about workplane  กำหนด Taper angle:20
                    ภาพสำเร็จ
                    สี่เหลี่ยมผสมวงกลมและตัดบางส่วนออก กำหนด Taper angle:10
                    ภาพสำเร็จ

                       การทำเส้นให้มีมิติ เป็นอีกรูปแบบของการสร้างวัตถุทรงตัน ต่างกันที่ไม่ต้องวาดรูปทรงปิด (Close Shape) เพียงแต่วาดเส้นลักษณะต่าง ๆ ตามต้องการ เช่น เส้นตรง  เส้นโค้ง  เส้นดัด  หรือ วาดทรงกลมแล้วใช้เส้นตรงตัดขวาง และใช้วิธีการตัดเส้นส่วนที่ไม่ต้องการทิ้ง ดังตัวอย่างข้างล่าง  แล้วใช้คำสั่งในการเปลี่ยนแปลงให้เป็น  3 มิติในภายหลัง ด้วยการกำหนดค่าความหนาของขนาดเส้น          ขั้นตอนการสร้าง
                           1.    ใช้เครื่องมือ Design วาดเส้นตามรูปแบบที่ต้องการ เ เช่น เส้นตรง หรือ เส้นโค้งอิสระ  หรือเส้นดัด
                            2.     คลิกเมนู Feature --> Extude Profile  หรือคลิกเครื่องมือ  (Extrude Profile)   3.     ป้อนค่าความสูงในช่อง  Distance (mm)  เช่น 40 4.     เช็คบ็อกช่อง Thin  5.     ป้อนค่าความหนาของเส้น ในช่อง Thickness (mm) เช่น 10
                               6.     คลิกปุ่ม OK  จะได้เส้นโค้ง 3 มิติ ดังภาพ
                    ตัวอย่าง การทำเส้นรูปแบบอื่น ๆ ให้มีมิติ
                            anigreen11_next.gif  
                                  การใช้เส้นดัด  
                          anigreen11_next.gif 
                                    การใช้เส้นตรงต่อกัน  
                    การแก้ไขขนาดรูปใน Feature ใน Mod ของ VirtureMart

                    E-mailPrintPDF
                    วิธีการแก้ไขขนาดรูปที่แสดงในหน้าเว็บของ Mod Feature ใน VirtueMart อย่างเช่นในตัวอย่างนี้
                    Virtuemart mod edit
                    ถ้าต้องการแก้ไข ขนาดของรูปให้แสดงที่สวยงามมากขึ้นทำได้โดยแก้ไข Stylesheet ที่ Folder Modules เช่น ต้องการแก้ไขขนาดรูปใน Module ที่ชื่อว่า mod_tpvm  ดังนั้นก็เปิดไฟล์ /public_html/modules/mod_tpvm/tmpl/tpvm.css แล้วทำการแก้ไขขนาด เสร็จแล้วก็ Upload ไปทับของเดิม เท่านี้ก็เรียบร้อย
                      
                       การเปิดแฟ้มข้อมูลภาพ
                        เมื่อต้องการเปิดชิ้นงานที่ได้บันทึกไว้มาปรับปรุงแก้ไข สามารถทำได้เหมือนเปิดแฟ้มข้อมูลงานทั่ว ๆ ไป คือ      เมนู File     เลือก  Open    กำหนดเส้นทางการบันทึกชิ้นงาน     คลิกเลือกชื่อไฟลที่ต้องการเปิด     คลิกปุ่ม Open
                       
                       การปิดแฟ้มข้อมูลภาพ
                        เมื่อต้องการปิดชิ้นงานที่กำลังสร้าง ควรทำการบันทึกไว้ก่อน แล้วจึงสั่งปิดชิ้นงาน       เมนู File     เลือก  Close  กรณีปิดไฟล์ปัจจุบัน     เลือก  Close All  กรณีปิดทุกไฟล์     ถ้าสั่งปิดโดยยังไม่ได้ Save โปรแกรมจะ แสดงข้อความให้ตอบ คือ  ปุ่ม Yes  ปุ่ม  No  และ ปุ่ม Cancle  เลือกตอบตามต้องการ
                           
                                                   ตอบ Yes  โปรแกรมจะบันทึกความเปลี่ยนแปลงของงานในชื่อที่บันทึกไว้ครั้งแรก และปิดโปรแกรม ถ้ายังไม่เคยบันทึก ต้องตั้งชื่อชิ้นงาน                                ตอบ No  โปรแกรมจะถูกปิด โดยไม่บันทึกความเปลี่ยนแปลง                                ตอบ Cancle  โปรแกรมไม่ปิด โดยจะกลับสู่หน้าต่างงานตามปกติ
                     ในกรณีที่ต้องการเพิ่มข้อความเพื่อประกอบชิ้นงานที่สร้างขึ้น  สามารถทำได้ดังนี้
                    1. สร้าง Sketch เพิ่ม ในตำแหน่งที่ต้องการเพิ่มข้อความ
                       เช่น  Select Faces  --->  เลือก ผิวบนของรูปทรง  ---> คลิกขวา  --->  New Sketch  --->  OK
                    2. เมนู Line ---> Add Text Outline...
                    3. พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
                    4. ป้อนค่าความสูงของตัวอักษร ในช่อง  height
                           5.   คลิกปุ่ม OK   จะปรากฎเค้าโครงข้อความที่พิมพ์
                             6. ใช้เมาส์เลื่อนข้อความไปวางในตำแหน่งที่เหมาะสม  เช่น กึ่งกลางชิ้นงาน  aniblue02_tiltupdown_down.gif
                             7. ใช้เมนู  Feature  --->  Extrude Profile..         8.  ป้อนค่าความหนาของตัวอักษร  เช่น  4     aniblue02_tiltupdown_down.gif
                              9.  คลิกปุ่ม OK   จะได้ข้อความ 3 มิติ บนรูปทรงที่ต้องการข้อความกำกับ
                            การทำเส้นให้มีมิติ เป็นอีกรูปแบบของการสร้างวัตถุทรงตัน ต่างกันที่ไม่ต้องวาดรูปทรงปิด (Close Shape) เพียงแต่วาดเส้นลักษณะต่าง ๆ ตามต้องการ เช่น เส้นตรง  เส้นโค้ง  เส้นดัด  หรือ วาดทรงกลมแล้วใช้เส้นตรงตัดขวาง และใช้วิธีการตัดเส้นส่วนที่ไม่ต้องการทิ้ง ดังตัวอย่างข้างล่าง  แล้วใช้คำสั่งในการเปลี่ยนแปลงให้เป็น  3 มิติในภายหลัง ด้วยการกำหนดค่าความหนาของขนาดเส้น
                             ขั้นตอนการสร้าง
                           1.    ใช้เครื่องมือ Design วาดเส้นตามรูปแบบที่ต้องการ เ เช่น เส้นตรง หรือ เส้นโค้งอิสระ  หรือเส้นดัด
                            2.     คลิกเมนู Feature --> Extude Profile  หรือคลิกเครื่องมือ  (Extrude Profile)   3.     ป้อนค่าความสูงในช่อง  Distance (mm)  เช่น 40 4.     เช็คบ็อกช่อง Thin  5.     ป้อนค่าความหนาของเส้น ในช่อง Thickness (mm) เช่น 10
                               6.     คลิกปุ่ม OK  จะได้เส้นโค้ง 3 มิติ ดังภาพ
                    ตัวอย่าง การทำเส้นรูปแบบอื่น ๆ ให้มีมิติ
                            anigreen11_next.gif  
                                  การใช้เส้นดัด  
                          anigreen11_next.gif 
                                    การใช้เส้นตรงต่อกัน  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น